ชื่อฉายา ตามลำดับ อังคาร —จันทร์

tripitaka-mbu.jpg.png

ฉายาพระสงฆ์พร้อมคำแปล อักษร

วันอังคาร จ.ฉ.ช.ฌ.ญ.


จิตฺตกาโร
ผู้กระทำได้ดังใจคิด

จกฺกธมฺโม
ผู้มีธรรมเป็นจักร

เจตนาสุโภ
ผู้มีเจตนางาม

จตฺตาลโย
ผู้มีอาลัยอันสละแล้ว

จินฺตามโย
ผู้สำเร็จได้ตามความคิด

จกฺกรตโน
ผู้มีแก้วเป็นจักร

จิตฺตานุรกฺขี
ผู้มีปกติคอยรักษาจิต

จกฺกวโร
ผู้มีจักรอันประเสริฐ

จิตฺตสํวโร
ผู้สำรวมจิต

จตฺตาวิโล
ผู้มีความขุ่นใจอันสละแล้ว

จิตฺตานุรกฺโข
ผู้ตามรักษาจิต

จนฺทสาโร
ผู้มีสาระดุจพระจันทร์

จิตฺตทนฺโต
ผู้ฝึกจิตแล้ว

จนฺทโชโต
ผู้รุ่งเรืองดุจพระจันทร์

จิรสุโภ
ผู้งามอย่างยั่งยืน

จตฺตสลฺโล
ผู้มีลูกศรอันสละแล้ว

จิรวฑฺฒโน
ผู้เจริญยั่งยืน

จนฺทธมฺโม
ผู้มีธรรมดุจพระจันทร์

จารุวํโส
ผู้อยู่ในวงศ์ทองคำ

จนฺทสุวณฺโณ
ผู้มีสีงามดุจพระจันทร์

จารุธมฺโม
ผู้มีธรรมดุจทองคำ

จนฺทปชฺโชโต
ผู้สว่างดุจพระจันทร์

จนฺทาโภ
ผู้มีความรุ่งเรืองดุจพระจันทร์

จนฺทเสโน
ผู้เป็นเสนาพระจันทร์

จนฺทปญฺโญ
ผู้มีปัญญาดุจแสงจันทร์

จนฺทมณฺฑโล
ผู้มีมณฑลดุจพระจันทร์

จนฺทโสภโณ
ผู้งามดุจพระจันทร์

จนฺทรํสี
ผู้มีรัศมีดุจพระจันทร์

จนฺทสุวณฺโณ
ผู้มีผิวพรรณงามดุจพระจันทร์

จนฺทโสภี
ผู้งามเหมือนพระจันทร์

จารุวณฺโณ
ผู้มีผิวพรรณดุจทองคำ

จนฺทวํโส
ผู้เป็นวงศ์แห่งพระจันทร์

จิรฏฐิโก
ผู้ดำรงอยู่นาน

จนฺทิโก
ผู้ดุจพระจันทร์

จิรตฺถิโก
ผู้มีความต้องการนาน

จนฺทิโม
พระจันทร์

จตฺตภโย
ผู้มีภัยอันสละแล้ว

จนฺทูปโม
ผู้เปรียบดังพระจันทร์

จตฺตมโล
ผู้มีมลทินอันสละแล้ว

จนฺทสิริ
ผู้มีสิริดุจพระจันทร์

จนฺทโชโต
ผู้รุ่งเรืองดุจพระจันทร์

จนฺโทภาโส
ผู้มีแสงสว่างอุจพระจันทร์

จกฺกวโร
ผู้ประเสริฐด้วยจักร

จรณธมฺโม
ผู้มีธรรมเป็นเครื่องประพฤติ

จนฺโทภาโส
ผู้มีแสงสว่างดุจพระจันทร์



จนฺทสุทฺโธ
ผู้หมดจดเหมือนพระจันทร์

จนฺทูปโม
ผู้เปรียบด้วยพระจันทร์

จาครโต
ผู้ยินดีในการเสียสละ

จนฺทวโส
ผู้อยู่ในวงศ์แห่งพระจันทร์

จารุธมฺโม
ผู้มีธรรมดุจทอง

จนฺทสาโร
ผู้มีสาระดุจพระจันทร์

จารุโภ
ผู้เจริญดุจทอง

จตฺตสลฺโล
ผู้สละกิเลสดุจลูกศร

จิตปุญฺโญ
ผู้มีบุญสั่งสมแล้ว

จิตฺตคุตฺโต
ผู้มีจิตคุ้มครองแล้ว

จารุวํโส
ผู้เป็นเชื้อทอง

จิตฺตปาโล
ผู้รักษาจิต

จารุสิริ
ผู้มีสิริดุจทอง

จิตฺตทโม
ผู้ฝึกจิต

จิณฺณธมฺโม
ผู้มีธรรมอันสั่งสมแล้ว

จิตฺตปาสาโท
ผู้มีจิตเลื่อมใส

จิณฺณโสตฺถิ
ผู้มีความสวัสดีที่สั่งสมแล้ว

จิตฺตปญฺโญ
ผู้มีปัญญาดังจิต

จิตฺตสุโภ
ผู้มีจิตอันงาม

จิณฺณจาโร
ผู้มีมารยาทอันสั่งสมแล้ว

จิณฺโณวาโท
ผู้มีโอวาทอันประพฤติแล้ว

จิตฺตวุฑฺโฒ
ผู้เจริญด้วยจิต

จิตธมฺโม
ผู้มีธรรมอันสั่งสมแล้ว

จิตฺตหฏฺโฐ
ผู้มีจิตร่าเริง

จิรกุโล
ผู้มีสกุลยั่งยืน

จิรฐิติโก
ผู้อยู่ยั่งยืน

จิรธมฺโม
ผู้มีธรรมยั่งยืน

จิรปุญฺโญ
ผู้มีบุญยั่งยืน

จุลฺลนาโค
นาคน้อย

จิรวฑฺโฒ
ผู้เจริยยั่งยืน

จิรวํโส
ผู้มีวงศ์ยั่งยืน

ฉตฺติโก
ผู้มีฉัตร

ฉนฺทวุฑฺโฒ
ผู้เจริญด้วยฉันทะ

ฉนฺทกโร
ผู้ทำความพอใจ

ฉนฺทโก
ผู้มีความพอใจ

ฉนฺทสโร
ผู้ระลึกถึงฉันทะ

ฉนฺทคฺโค
ผู้มีความพอใจเป็นเลิศ

ฉนฺทสาโร
ผู้มีสาระเป็นแก่น

ฉนฺทชาโต
ผู้เกิดความพอใจ

ฉนฺทสีโล
ผู้มีศีลเป็นที่พอใจ

ฉนฺทธมฺโม
ผู้มีธรรมเป็นที่พอใจ

ฉนฺทสุโภ
ผู้งามด้วยฉันทะ

ฉนฺทยุตฺโต
ผู้ประกอบด้วยฉันทะ

ฉินฺนนฺโธ
ผู้ตัดความมืด

ฉินฺนมนฺโท
ผู้ตัดความเขลา



ฉินฺนกาโม
ผู้ตัดกาม

ฉินฺนาลโย
ผู้ตัดความอาลัย

ฉินฺนเปโม
ผู้ตัดความรัก

ฉินฺนสุโภ
ผู้ตัดขาดความงาม

ชนาสโภ
ผู้แกล้วกล้าในหมู่ชน

ชนุตฺตโม
ผู้สูงสุดในหมู่ชน

ชมฺพุนุโท
ทองชมพูนุท

ชยาลงฺกรโณ
ผู้มีชัยเป็นเครื่องประดับ

ชยาภรโณ
ผู้มีชัยเป็นอาภรณ์

ชยทตฺโต
ผู้ให้ชัยชนะ

ชยนฺโต
ผู้มีชัย

ชยธมฺโม
ผู้มีธรรมแห่งชัยชนะ

ชยปาโล
ผู้รักษาชัยชนะ

ชวนปญฺโญ
ผู้มีปัญญาไว

ชวโน
ผู้มีเชาว์

ชาคโร
ผู้ตื่น

ชาตปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเกิดแล้ว

ชาตวิริโย
ผู้มีความเพียรเกิดแล้ว

ชินวโร
พระชินศรีผู้ประเสริฐ

ชินวํโส
ผู้เป็นวงศ์พระชินศรี

ชินสุโภ
ผู้องอาจดุจพระชินศรี

ชาตสํวโร
ผู้มีความสำรวจเกิดแล้ว

ชาตสิริ
ผู้มีสิริเกิดแล้ว

ชาตสุทฺธิ
ผู้มีความบริสุทิ์เกิดแล้ว

ชิโนรโส
ผู้เป็นโอรสพระชินศรี

ชีวสุทฺโธ
ผู้เลี้ยงชีพบริสุทธิ์

ชิตงฺกโร
ผู้ทำความชนะ

ชุติกาโม
ผู้ใคร่ความรุ่งเรือง

ชิตจิตฺโต
ผู้มีจิตอันชนะแล้ว

ชุติทตฺโต
ผู้ให้ความรุ่งเรือง

ชุติทนฺโน
ผู้ให้ความรุ่งเรือง

ชิตมาโร
ผู้ชนะมาร

ชุตินฺธโร
ผู้ทรงไว้ซึ่งความรุ่งเรือง

ชิตินฺทริโย
ผู้มีอินทรีย์ที่ชนะแล้ว

ชุติปญฺโญ
ผู้มีปัญญารุ่งเรือง

ชุติมนฺโต
ผู้มีความรุ่งเรือง

ชินปุตฺโต
ผู้เป็นบุตรพระชินศรี

ชุติวณฺโณ
ผู้มีวรรณรุ่งเรือง

โชติโก
ผู้เปล่งปรั่ง

โชติกโร
ผู้ทำความรุ่งเรือง

โชติธมฺโม
ผู้มีธรรมเป็นเครื่องส่อง

โชติโก
ผู้ทำความรุ่งเรือง

โชติปาโล
ผู้รักษาความรุ่งเรือง

โชติญาโณ
ผู้มีญาณที่รุ่งเรือง

โชติทตฺโต
ผู้ให้แสงสว่าง

โชติปุญฺโญ
ผู้รุ่งเรืองด้วยธรรม

โชติปญฺโญ
ผู้รุ่งเรืองด้วยปัญญา


โชติทินฺโน
ผู้ให้แสงสว่าง

โชติวโร
ผู้ประเสริฐด้วยความรุ่งเรือง

โชติวิริโย
ผู้รุ่งเรืองด้วยความเพียร

ฌานโก
ผู้ทำความเพ่ง

ฌานกาโม
ผู้ใคร่ในการเพ่ง

ฌานฉนฺโท
ผู้พอใจในการเพ่ง

ฌานโสภโณ
ผู้งามด้วยการเพ่ง

ฌานทีโป
ผู้ส่องฌาน

ฌานสโภ
ผู้องอาจด้วยการเพ่ง

ญาณกโร
ผู้ทำความรู้

ญาณปคุโณ
ผู้มีความรู้คล่องแคล่ว

ญาณกาโม
ผู้ใคร่ความรู้

ญาณปฺปสุโต
ผู้ขวนขวายความรู้

ญาณกิตฺติ
ผู้มีเกียรติเพราะความรู้

ญาณปฺปโก
ผู้สว่างเพราะความรู้

ญาณปาโล
ผู้ถนอมความรู้

ญาณคุโณ
ผู้มีคุณคือความรู้

ญาณผโล
ผู้มีผลเพราะความรู้

ญาณคุตฺโต
ผู้คุ้มครองด้วยความรู้

ญาณพนฺโธ
ผู้อันความรู้ผูกไว้แล้ว

ญาณพโล
ผู้มีความรู้เป็นกำลัง

ญาณจารี
ผู้มักเที่ยวไปด้วยญาณ

ญาณยโม
ผู้สำเร็จด้วยญาณ

ญาณฉนฺโท
ผู้พอใจในความรู้

ญาณยโส
ผู้มียศเพราะอาศัยญาณ

ญาณโยโค
ผู้ประกอบด้วยญาณ

ญาณเตโช
ผู้มีเดชเพราะความรู้

ญาณรกฺขิโต
ผู้มีญาณเป็นเครื่องรักษา

ญาณทีโป
ผู้มีญาณเป็นที่พึ่ง

ญาณธโช
ผู้มีญาณเป็นธง

ญาณวโร
ผู้ประเสริฐด้วยญาณ

ญาณธโร
ผู้ทรงไว้ซึ่งญาณ

ญาณโชโต
ผู้รุ่งเรืองด้วยญาณ

ญาณวิชโย
ผู้ชนะด้วยญาณ

ญาณโสธโน
ผู้ชำระญาณให้หมดจด

ญาณวิเวโก
ผู้สงัดด้วยญาณ

ญาณวีโร
ผู้มีญาณแก่กล้า

ญาณโสภโณ
ผู้งามด้วยความรู้

ญาณวุฑฺโฒ
ผู้เจริญด้วยญาณ

ญาณสวโร
ผู้สำรวมด้วยญาณ

ญาณสมฺปนฺโน
ผู้ถึงพร้อมด้วยญาณ

ญาณาสโย
ผู้มีญาณเป็นที่อาศัย

ญาณิโก
ผู้ประกอบด้วยญาณ

ญาณสโร
ผู้ระลึกด้วยญาณ

ญาณสีโล
ผู้มีศีลประกอบด้วยญาณ


ข้อมูลบล็อก ลิปิกรมคำศัพท์

การตั้งฉายาพระ
โดยพระครูสุธีวรสาร ดร.ตำแหน่ง
พระอุปัชฌาย์ · เจ้าอาวาสวัดหนองสวง · เจ้าคณะอำเภอหนองกุงศรี · อาจารย์ประจำหลักสูตร
การศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ไม่มีความคิดเห็น:

เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
รู้ ความหมายศัพท์ “คำยืม” อธิบาย “คำยืม” ได้แก่ ความว่า คำที่ใช้กันอยู่ในภาษาไทยของเราตอนนี้ บางส่วนเป็นคำไทยแท้ แต่บางส่วนก็เป็นคำไทยที่หยิบยืมมาจากภาษาอื่น และที่เห็นกันบ่อย ๆ คือมาจากภาษาบาลีและสันสกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ

Phra Ratana Kosin Sok Thi 236 —239