ชื่อฉายา ตามลำดับ จันทร์ —อาทิตย์

tripitaka-mbu.jpg.png

ฉายาพระสงฆ์พร้อมคำแปล อักษร

วันจันทร์ ก. ข. ค. ฆ.


กิตฺติปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเป็นเกียรติ

กตกิจฺโจ
ผู้มีกิจอันทำแล้ว

กิตฺติคุโณ
ผู้มีคุณเป็นเกียรติ

กนฺตสิริ
ผู้มีสิริเป็นที่ยินดี

กิตฺติฐาโน
ผู้มีฐานะอันบุคคลยกย่อง

กตธุโร
ผู้มีธุระอันทำแล้ว

กิตฺติญาโณ
ผู้มีญาณเป็นเกียรติ

กนฺตสีโล
ผู้มีศีลเป็นที่น่ายินดี

กิตฺติโก
ผู้ทรงเกียรติ

กตปุญฺโญ
ผู้มีบุญอันทำแล้ว

กฺวิวํโส
ผู้อยู่ในวงศ์กวี

กตสาโร
ผู้มีสาระอันทำแล้ว

กนโก
ผู้งามดังทอง

กนฺตจารี
ผู้มีมารยาทน่ารัก

กมโล
ผู้งามดุจดอกบัว

กนฺโตภาโส
ผู้ใคร่แสงสว่าง

กตปุญฺโญ
ผู้มีปบุญอันทำแล้ว

กมฺพโล
ผู้มีสีแดง

กตนาโถ
ผุ้มีที่พึ่งอันทำแล้ว

กนฺตจาโร
ผู้มีมารยาทน่าที่ยินดี

กตกุสโล
ผู้มีกุศลอันทำแล้ว

กมฺพุวณฺโณ
ผู้มีดังทอง

กตสาโร
ผู้มีสาระอันทำแล้ว

กนฺตธมฺโม
ผู้มีธรรมเป็นที่ยินดี

กตธมฺโม
ผู้มีธรรมอันทำแล้ว

กมฺพุสิริ
ผู้มีสีดังทอง

กตทีโป
ผู้มีที่พึ่งอันทำแล้ว

กมโล
ผู้ดุจดอกบัว

กตคุโณ
ผู้มีคุณอันกระทำแล้ว

กนฺตผโล
ผู้มีผลเป็นที่ชอบใจ

กมฺมสุทฺโธ
ผู้มีกรรมบริสุทธิ์


กมฺมสุทฺโธ
ผู้มีการงานหมดจด

กมฺมสุโภ
ผู้มีกรรมอันงาม

กนฺตวณฺโณ
ผู้มีวรรณเป็นที่ยินดี

กนฺตวีโร
ผู้มีความแกล้วกล้าเป็นที่รัก

กนฺตวีโร
ผู้มีความกล้าเป็นที่ยินดี

กนฺตปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเป็นที่รัก

กลฺยาณธมฺโม
ผู้มีธรรมอันงาม

กนฺตสีโล
ผู้มีศีลน่ารัก

กลฺยาณธโร
ผู้ทรงไว้ซึ่งความงาม

กนฺตวณฺโณ
ผู้มีวรรณะน่ารัก

กนฺตสาโร
ผู้มีสาระเป็นที่ยินดี

ขนฺติโก
ผู้มีความอดทน

กลฺยาณรโต
ผู้ยินในธรรมอันงาม

โกวิโท
ผู้ฉลาด

กวิวํโส
ผู้เป็นวงศ์แห่งกวี

กิตฺติปาโล
ผู้รักษาชื่อเสียง

กลฺยาโณ
ผู้มีธรรมอันงาม

โฆสโก
ผู้มีเสียงก้อง

กาญฺจโน
ผู้ดุจทองคำ

กามฉนฺโท
ผู้ตัดความใคร่

กุลวฑฺฒโน
ผู้เจริญในกระกูล

กุสลจิตฺโต
ผู้มีจิตเป็นกุศล

กิจฺจสาโร
ผู้มีกิจเป็นสาระ

กุสโล
ผู้ฉลาด

กิตฺติโก
ผู้มีเกียรติ

กุสุโม
ผู้ละเอียด

กิตฺติคุตฺโต
ผู้รักษาเกียรติ

เกตุธมฺโม
ผู้มีธรรมดุจธง

กิตฺติธโร
ผู้ทรงเกียรติ

กิตฺติปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเป็นเกียรติ

โกมุโท
ดอกบัว


โกวิโล
ผู้หนักแน่นราวแผ่นดิน

โกวิโท
ผู้ฉลาด

โกสโล
ผู้ฉลาด

กุสุโม
ผู้ละเอียด

ขตฺตปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเฉียบแหลม

เขมงฺกโร
ผู้ทำความเกษม

ขนฺตยาคโม
ผู้มีความอดทนเป็นอาคม

เขมจารี
ผู้มีปกติประพฤติเกษม

ขนฺติโก
ผู้มีความอดทน

ขนฺติธโร
ผู้ทรงไว้ซึ่งความอดทน

เขมจาโร
ผู้ประพฤติเกษม

ขนฺติพโล
ผู้มีขันติเป็นกำลัง

เขมจิตฺโต
ผู้มีจิตปลอดโปร่ง

ขนฺติสาโร
ผู้มีความอดทนเป็นสาระ

ขิปฺปาภิญฺโญ
ผู้รู้เร็ว

ขีณมโล
ผู้สิ้นมลทิน

เขมกาโม
ผู้ใคร่ความเกษม

เขมทสฺสี
ผู้มีปกติเห็นความเกษม

เขมกาโร
ผู้ทำความเกษม

เขมทสฺโส
ผู้เห็นความเกษม

เขมโก
ผู้เกษม

เขมเทโว
ผู้มีความเกษมดุจเทวดา

เขมคุตฺโต
ผู้รักษาความเกษม

เขมธมฺโม
ผู้มีธรรมอันเกษม

เขมรํสี
ผู้มีรัศมีอันปลอดโปร่ง

เขมธโร
ผู้ทรงไว้ซึ่งความเกษม

เขมวโร
ผู้มีความเกษมอันประเสริฐ

เขมสรโณ
ผู้มีที่พึ่งอันเกษม

เขมปญฺโญ
ผู้มีปัญญาอันเกษม

เขมาภิรโต
ผู้ยินดียิ่งในความเกษม

คุณธโร
ผู้ทรงคุณความดี


คนฺถิโก
ผู้เรียนคัมภีร์

คุณวนฺโต
ผู้มีคุณ

คนฺธปาโล
ผู้รักษากลิ่นหอม

คุณยุตฺโต
ผู้ประกอบด้วยความดี

คุณวโร
ผู้มีคุณอันประเสริฐ

คุณวุฑฺโฒ
ผู้เจริญด้วยคุณ

คุณสาโร
ผู้มีคุณเป็นสาระ

ครุคารโว
ผู้มีความเคารพหนักแน่น

คุณสํวโร
ผู้สังวรในความดี

ครุธมฺโม
ผู้มีธรรมหนักแน่น

คุณกโร
ผู้ทำความดี

คุตฺตจิตฺโต
ผู้มีจิตอันคุ้มครองแล้ว

คุตฺตสีโล
ผู้มีศีลอันคุ้มครองแล้ว

คุตฺตธมฺโม
ผู้มีธรรมอันคุ้มครองแล้ว

คุตฺตาจาโร
ผู้มีมารยาทอันคุ้มครองแล้ว

ฆนสาโร
ผู้มีสาระอันแน่นหนา

โฆสโก
ผู้มีเสียงกึกก้อง

โฆสคุโณ
ผู้มีคุณอันกึกก้อง

ฆรมุตฺโต
ผู้พ้นจากเรือน

ฆานสํวโร
ผู้สำรวมในจมูก

โฆรตโป
ผู้มีตบะอันกล้า

โฆสกาโม
ผู้มุ่งความกึกก้อง

โฆสกาโร
ผู้ทำความกึกก้อง

โฆสกิตฺติโก
ผู้มีเกียรติกึกก้อง

โฆสธมฺโม
ผู้มีธรรมกึกก้อง

โฆสิตธมฺโม
ผู้มีธรรมเครื่องกึกก้อง

โฆสนาโม
ผู้มีนามกึกก้อง

โฆสิตสทฺโท
ผู้มีเสียงกึกก้อง

โฆสวโร
ผู้มีความกึกก้องที่ประเสริฐ

โฆสิโต
ผู้กึกก้อง

โฆสทสฺสี
ผู้เห็นความกึกก้อง


ข้อมูลบล็อก ลิปิกรมคำศัพท์

การตั้งฉายาพระ
โดยพระครูสุธีวรสาร ดร.ตำแหน่ง
พระอุปัชฌาย์ · เจ้าอาวาสวัดหนองสวง · เจ้าคณะอำเภอหนองกุงศรี · อาจารย์ประจำหลักสูตร
การศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
รู้ ความหมายศัพท์ “คำยืม” อธิบาย “คำยืม” ได้แก่ ความว่า คำที่ใช้กันอยู่ในภาษาไทยของเราตอนนี้ บางส่วนเป็นคำไทยแท้ แต่บางส่วนก็เป็นคำไทยที่หยิบยืมมาจากภาษาอื่น และที่เห็นกันบ่อย ๆ คือมาจากภาษาบาลีและสันสกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ

Phra Ratana Kosin Sok Thi 236 —239