ชื่อฉายา ตามลำดับ เสาร์ —ศุกร์

tripitaka-mbu.jpg.png

ฉายาพระสงฆ์พร้อมคำแปล อักษร

วันเสาร์ ต. ถ. ท. ธ. น.


ตนฺติปาโล
ผู้รักษาแบบแผน

เตชธโร
ผู้ทรงเดช

ตปคุโณ
ผู้มีคุณเป็นตบะ

ติกฺขปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเฉียบแหลม

ตปสี
ผู้มีตบะ

ตปสีโล
ผู้มีศีลเป็นตบะ

ติกฺขวีโร
ผู้มีความเพียรแก่กล้า

ติสรโณ
ผู้มีที่พึ่งสาม

ตโมนุโท
ผู้บรรเทาความมืด

ติสฺสเทโว
เทวดาชื่อติสสะ

ตรุโณ
ผู้เยาว์, ผู้อ่อน

ติสฺสวํโส
ผู้เป็นวงศ์แห่งพระติสสะ

ตาณกโร
ผู้ทำการต้านทาน

ตาณรโต
ผู้ยินดีในการต้านทาน

ติสฺโส
พระนามพระพุทธเจ้า

ติกฺขญาโณ
ผู้มีญาณแก่กล้า

ตุฏฺฐจิตฺโต
ผู้มีจิตยินดี

ตุฏฺฐมโน
ผู้มีใจยินดี

เตชปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเป็นเดช

ตุฏฺโฐ
ผู้ยินดีแล้ว

เตชปุญฺโญ
ผู้มีบุญเป็นเดช

ตุลธมฺโม
ผู้มีธรรมชั่งได้

เตชพโล
ผู้มีกาลังเป็นเดช

เตชทตฺโต
ผู้มีเดชอันให้แล้ว

เตชวณฺโณ
ผู้มีวรรณเป็นเดช

เตชธมฺโม
ผู้มีธรรมเป็นเดช

เตชวโร
ผู้ประเสริฐด้วยเดช

เตชโชโต
ผู้รุ่งเรืองด้วยเดช

ถามวโร
ผู้มีกำลังอันเลิศ

ถิรปุญฺโญ
ผู้มีบุญมั่นคง

ถามิโก
ผู้มีกำลัง

ถิรสีโล
ผู้มีศีลมั่นคง

ถาวรคุโณ
ผู้มีคุณยั่งยืน

ถิรสํวโร
ผู้สำรวมอย่างมั่นคง

ถาวรธมฺโม
ผู้มีธรรมอันยั่งยืน

ถิรโสภโณ
ผู้มีความงามมั่นคง

ถาวโร
ผู้มีความยั่งยืน

ถุติสิโล
ผู้มีความชมเชย


ถิรคุโณ
ผู้มีคุณที่มั่นคง

ถิรจิตฺโต
ผู้มีจิตมั่นคง

เถรธมฺโม
ผู้มีธรรมเครื่องเป็นเถระ

ถิรญาโณ
ผู้มีความรู้มั่นคง

ทกฺขญาโณ
ผู้มีปัญญาว่องไว

ทตฺตมโน
ผู้มีใจที่ให้แล้ว

ทตฺโตภาโส
ผู้ให้แสงสว่าง

ทนฺตกาโย
ผู้มีกายที่ทรมานแล้ว

ทนฺตจิตฺโต
ผู้มีจิตอันทรมานแล้ว

ทินฺโนภาโส
ผู้ให้แสงสว่าง

ทิวงฺกโร
ผู้ทำแสงสว่าง

ทนฺตาจาโร
ผู้มีอาจาระอันฝึกแล้ว

ทีฆายุโก
ผู้มีอายุยืน

ทมโก
ผู้ฝึก

ทีปกโร
ผู้ทำที่พึ่ง

ทสฺสธมฺโม
ผู้มีธรรมคือการเห็น

ทานจฺฉนฺโท
ผู้พอใจให้

เทวธมฺโม
ผู้มีเทวธรรม

ทานรโต
ผู้ยินดีในทาน

เทวมิตฺโต
ผู้เป็นมิตรกับเทวดา

ทิฏฺฐธมฺโม
ผู้เห็นธรรม

ทินฺนยโส
ผู้ให้ยศ

เทวงกโร
ผู้ทำความเป็นเทวดา

ทิฏฺฐญาโณ
ผู้เห็นญาณ

ทินฺนพโล
ผู้ให้กำลัง

ธญฺญทตฺโต
ผู้ให้ข้าวเปลือก

ธมฺมโฆสโก
ผู้ประกาศธรรม

ธมฺมจฺฉนฺโท
ผู้พอใจในธรรม

ธมฺมเฉโก
ผู้เฉียบแหลมในธรรม

ธตมโล
ผู้มีมลทินอันขจัดแล้ว

ธมฺมโชติ
ผู้ส่องธรรม

ธนญฺชโห
ผู้สละทรัพย์

ธมฺมโชโต
ผู้ให้ธรรมอันโชติช่วง

ธนญฺชโย
ผู้ชนะเพราะทรัพย์

ธมฺมฏฺฐโต
ผู้ดำรงมั่นในธรรม

ธนปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเป็นทรัพย์

ธมฺมเตโช
ผู้มีเดชเพราะธรรม


ธนวุฑฺโฒ
ผู้เจริญด้วยทรัพย์

ธมฺมทินฺโน
ผู้มีธรรมอันให้แล้ว

ธมฺมกถิโก
ผู้กล่าวธรรมกถา

ธมฺมกาโม
ผู้ใคร่ธรรม

ธมฺมทีโป
ผู้มีธรรมดุจประทีป

ธมฺมกุสโล
ผู้ฉลาดในธรรม

ธมฺมคุตฺโต
ผู้มีธรรมคุ้มครองแล้ว

ธมฺมจารี
ผู้ประพฤติธรรม

ธมฺมธโช
ผู้มีธรรมเป็นธง

ธมฺมธโร
ผู้ทรงธรรม

ธมฺมวิจาโร
ผู้ตรองธรรม

ธมฺมปวโร
ผู้มีธรรมอันประเสริฐ

ธมฺมวิริโย
ผู้เพียรในธรรม

ธมฺมปาโล
ผู้ถนอมพระธรรม

ธมฺมปีติโก
ผู้อิ่มในพระธรรม

ธมฺมสรโณ
ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่ง

ธมฺมพโล
ผู้มีพระธรรมเป็นกำลัง

ธมฺมสโร
ผู้ระลึกถึงพระธรรม

ธมฺมสิริ
ผู้มีธรรมเป็นสิริ

ธมฺมรกฺขิโต
ผู้อันธรรมรักษา

ธมฺมสุนฺทโร
ผู้งามในพระธรรม

ธมฺมรตโน
ผู้มีธรรมเป็นรัตนะ

ธมฺมาภิรโม
ผู้ภิรมย์ในพระธรรม

ธมฺมรโต
ผู้ยินดีในพระธรรม

ธมฺมกาโม
ผู้ใคร่ในพระธรรม

ธมฺมาโภ
ผู้มีรัศมีแห่งพระธรรม

ธมฺมรโส
ผู้รับรสพระธรรม

ธมฺมรสี
ผู้มีรัศมีแห่งพระธรรม

ธมฺมาวุโธ
ผู้มีธรรมเป็นอาวุธ

ธมฺมวโร
ผู้มีธรรมอันประเสริฐ

ธมฺมาสโน
ผู้อาศัยพระธรรม

ธมฺมิโก
ผู้มีธรรม

ธีโร
ผู้เป็นปราชญ์

ธุวาโห
ผู้เอาการงาน

ธมฺเมสโก
ผู้แสวงหาพระธรรม

ธุวธมฺโม
ผู้มีธรรมอันยั่งยืน

ธีรปญฺโญ
ผู้มีปัญญาดุจปราชญ์

ธุวสีโล
ผู้มีศีลอันยั่งยืน


โธตโก
ผู้ขัดเกลากิเลส

ธีรภทฺโท
ผู้เป็นปราชญ์ที่ประเสริฐ

ธีรธมฺโม
ผู้มีธรรมแห่งปราชญ์

นนฺทโก
ผู้บันเทิง

นาถเสโน
ผู้กล้าเหมือนพญาช้าง

นนฺทิโย
ผู้บันเทิง

นนฺโท
ผู้บันเทิง

นาถกโร
ผู้ทำที่พึ่ง

นรินฺโท
ผู้เป็นจอมแห่งชน

นาถทตฺโต
ผู้ให้ที่พึ่ง

นาควณฺโณ
ผู้มีวรรณประเสริฐ

นาถธมฺโม
ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่ง

นาควโร
ผู้มีพรอันประเสริฐ

นาถปุญฺโญ
ผู้มีบุญเป็นที่พึ่ง

นาถปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเป็นที่พึ่ง

นาถสีโล
ผู้มีศีลเป็นที่พึ่ง

นาโถ
ผู้มีที่พึ่ง

นาถรตโน
ผู้มีรัตนะเป็นที่พึ่ง

นาถพุทฺโธ
ผู้มีพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง

นาถสงฺโฆ
ผู้มีพระอริยสงฆ์เป็นที่พึ่ง

นิกฺกสาโว
ผู้ไม่มีกิเลสดุจน้ำฝาด

นิพฺภโย
ผู้ไม่มีภัย

นิติโก
ผู้มีแบบแผน

นิภาธโร
ผู้ทรงรัศมี

นิติสาโร
ผู้มีแบบแผนเป็นหลัก

นิมฺมโธ
ผู้ไม่มัวเมา

นิมฺมโล
ผู้ไม่มีมลทิน

นิทฺทรโถ
ผู้ไม่กระวนกระวาย

นิรโต
ผู้ไม่ยินดี

นิราสงฺโก
ผู้ไม่มีความสงสัย

นิทฺทุกฺโข
ผู้ไม่มีทุกข์

นิสโภ
ผู้ประเสริฐ

นิทฺเทสโก
ผู้ชี้ทาง

นีลวณฺโณ
ผู้มีผิวดุจนิล

นินฺนธมฺโม
ผู้น้อมนำพระธรรม

เนมิตฺตโก
ผู้ทำนายโชค

นิปฺปโก
ผู้มีปัญญารักษาตน


ข้อมูลบล็อก ลิปิกรมคำศัพท์

การตั้งฉายาพระ
โดยพระครูสุธีวรสาร ดร.ตำแหน่ง
พระอุปัชฌาย์ · เจ้าอาวาสวัดหนองสวง · เจ้าคณะอำเภอหนองกุงศรี · อาจารย์ประจำหลักสูตร
การศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ไม่มีความคิดเห็น:

เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
รู้ ความหมายศัพท์ “คำยืม” อธิบาย “คำยืม” ได้แก่ ความว่า คำที่ใช้กันอยู่ในภาษาไทยของเราตอนนี้ บางส่วนเป็นคำไทยแท้ แต่บางส่วนก็เป็นคำไทยที่หยิบยืมมาจากภาษาอื่น และที่เห็นกันบ่อย ๆ คือมาจากภาษาบาลีและสันสกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ

Phra Ratana Kosin Sok Thi 236 —239