ชื่อฉายา ตามลำดับ พฤหัสบดี —พุธ

tripitaka-mbu.jpg.png

ฉายาพระสงฆ์พร้อมคำแปล อักษร

วันพฤหัสบดี ป.ผ.พ.ภ.ม.


ปคุโณ
ผู้ช่ำชอง

ปทุมวณฺโณ
ผู้มีวรรณดังดอกบัว

ปชฺโชโต
ผู้เปล่งปลั่ง

ปญฺญาคาโม
ผู้มีปัญญาเป็นอาคม

ปทุโม
ดอกบัว

ปญฺญาปสุโต
ผู้ขวนขวายหาปัญญา

ปภงฺกโร
พระอาทิตย์

ปนาโท
ผู้น่านับถือ

ปญฺญาภรโณ
ผู้มีปัญญาเป็นอาภรณ์

ปญฺญาธโร
ผู้ทรงปัญญา

ปภสฺสโร
ผู้รุ่งเรือง

ปญฺญาวชิโร
ผู้มีปัญญาดุจเพชร

ปภาโต
ผู้สว่างแล้ว

ปญฺญาวฑฺโฒ
ผู้เจริญด้วยปัญญา

ปภาธโร
ผู้ทรงรัศมี

ปญฺญาวโร
ผู้ประเสริฐด้วยปัญญา

ปมุทิโต
ผู้บันเทิง

ปญฺญาวุโธ
ผู้มีปัญญาเป็นอาวุธ

ปรกฺกโม
ผู้บากบั่น

ปญฺญาสิริ
ผู้มีสิริคือปัญญา

ปริชาโน
ผู้รอบรู้

ปญฺญาสิโห
ผู้มีปัญญาดังสีหะ

ปริปุณฺโณ
ผู้เต็มรอบ

ปณฺฑิโต
ผู้เฉียบแหลม

ปริมุตฺโต
ผู้พ้นดีแล้ว

ปณีตจิตฺโต
ผู้มีจิตปราณีต

ปริสุทฺโธ
ผู้บริสุทธิ์


ปรุฬฺโห
ผู้งอกงาม

ปญฺญากาโม
ผู้ใคร่ปัญญา

ปุญฺญากาโม
ผู้ใคร่บุญ

ปวฑฺฒโน
ผู้เจริญมาก

ปุญฺญกุสโล
ผู้ฉลาดในบุญ

ปสนฺโน
ผู้เลื่อมใส

ปุญญจฺจโย
ผู้สั่งสมบุญ

ปสาโท
ผู้มีความเลื่อมใส

ปุญฺญผโล
ผู้มีผลแห่งบุญ

ปหฏฺโฐ
ผู้ร่าเริง

ปุญฺญมโน
ผู้มีใจบุญ

ปิยทสฺสี
ผู้มีปกติเห็นสิ่งน่ารัก

ปิยธโร
ผู้ทรงไว้ซึ่งธรรมเป็นที่รัก

ปุณฺณสิริ
ผู้มีสิริเต็ม

ปุณฺณาโก
ผู้มีรัศมีเต็ม

ปิยธมฺโม
ผู้มีธรรมเป็นที่รัก

ปสฺสวโร
ผู้ขาวประเสริฐ

ปิยปุตฺโต
ผู้มีบุตรเป็นที่รัก

ปุสฺสทตฺโต
ผู้ให้ของสะอาด

ปิยภาณี
ผู้พูดเพราะ

เปมสีโล
ผู้มีศีลเป็นที่รัก

ปิยวณฺโณ
ผู้มีวรรณน่ารัก

เปสโล
ผู้มีศีลเป็นที่รัก

ปิยาจาโร
ผู้มีมารยาทน่ารัก

ปุญฺญวนฺโต
ผู้มีบุญ

ผลญาโณ
ผู้มีความรู้เป็นผล


ผาสุกธมฺโม
ผู้มีธรรมเป็นที่สบาย

ผลปุญฺโญ
ผู้มีบุญเป็นผล

ผุฏฐธมฺโฒ
ผู้ถูกต้องธรรม

ผลสมฺปนฺโน
ผู้สมบูรณ์ด้วยผล

ผุลฺลธมฺโม
ผู้มีธรรมงอกงาม

ผลิโก
ผู้มีผล

ผุสิตธมฺโม
ผู้ถูกต้องธรรม

ผาสุโก
ผู้มีความสุข

ผาสุขกาโม
ผู้ใคร่ในความสุข

พทฺธธมฺโม
ผู้มีธรรมอันตนผูกไว้แล้ว

พลวโร
ผู้มีกำลังประเสริฐ

พลวุฑฺโฒ
ผู้เจริญด้วยกำลัง

พทฺธญาโณ
ผู้มีญาณอันตนผูกไว้แล้ว

พฺรหฺมโชโต
ผู้มีความรุ่งเรืองดุจพรหม

พุทฺธรกฺขิโข
ผู้อันพระพุทธเจ้าทรงรักษา

พฺรหฺมสโร
ผู้มีเสียงดุจพรหม

พุทฺธวิริโย
ผู้มีความเพียรดุจพระพุทธเจ้า

พฺรหฺมวณฺโณ
ผู้มีวรรณดุจพรหม

พุทฺธสรโณ
ผู้ระลึกถึงพระพุทธเจ้า

ภทฺทโก
ผู้เจริญ

ภทฺราวุโธ
ผู้มีอาวุธดี

ภทฺทจารี
ผู้มีปกติประพฤติแต่สิ่งดี

ภทฺทิโย
ผู้มีปกติเจริญ

ภูริจิตฺโต
ผู้มีจิตประกอบด้วยปรีชา

ภทฺทธมฺโม
ผู้มีธรรมเจริญดี

ภทฺทปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเจริญ

ภูริทตฺโต
ผู้ให้ดุจแผ่นดิน


ภทฺทจาโร
ผู้ประพฤติดี

ภูริปญฺโญ
ผู้มีปัญญาดุจแผ่นดิน

ภูริวฑฺฒโน
ผู้เจริญด้วยปัญญา

ภูมิปาโล
ผู้รักษาแผ่นดิน

มงฺคลฺโก
ผู้ต้องการมงคล

มุตฺตจิตฺโต
ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว

มณิวณฺโณ
ผู้มีวรรณดุจแก้วมณี

มุทิโต
ผู้บันเทิง

มุทุจิตฺโต
ผู้มีจิตอ่อนน้อม

มนฺตคุตฺโต
ผู้อันมนต์คุ้มครอง

มุนิจโร
ผู้ประพฤติตามพระมุนี

มุนิวีโร
ผู้มีความเพียรดุจพระมุนี

มนฺตาคโม
ผู้มีมนต์เป็นอาคม

มนุญฺโญ
ผู้มีใจฟูขึ้น

เมตฺตาสโย
ผู้มีอัธยาศัยประกอบด้วยเมตตา

มหาญาโณ
ผู้มีความรู้

มหาปญฺโญ
ผู้มีปัญญามาก

มหาปุญฺโญ
ผู้มีบุญมาก

มหานาโม
ผู้มีชื่อเสียงโด่งดัง

เมตฺติโก
ผู้ประกอบด้วยเมตตา

มหาวีโร
ผู้มีความเพียรกล้าหาญ

เมธาวี
ผู้มีปัญญา

มหาวุฑฺโฒ
ผู้เจริญมาก

เมธิโก
ผู้ประกอบด้วยปัญญา

มหพฺพโล
ผู้มีกำลังมาก

มานิโต
ผู้อันชนยกย่อง


ข้อมูลบล็อก ลิปิกรมคำศัพท์

การตั้งฉายาพระ
โดยพระครูสุธีวรสาร ดร.ตำแหน่ง
พระอุปัชฌาย์ · เจ้าอาวาสวัดหนองสวง · เจ้าคณะอำเภอหนองกุงศรี · อาจารย์ประจำหลักสูตร
การศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ไม่มีความคิดเห็น:

เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
รู้ ความหมายศัพท์ “คำยืม” อธิบาย “คำยืม” ได้แก่ ความว่า คำที่ใช้กันอยู่ในภาษาไทยของเราตอนนี้ บางส่วนเป็นคำไทยแท้ แต่บางส่วนก็เป็นคำไทยที่หยิบยืมมาจากภาษาอื่น และที่เห็นกันบ่อย ๆ คือมาจากภาษาบาลีและสันสกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ

Phra Ratana Kosin Sok Thi 236 —239