ชื่อฉายา ตามลำดับ ศุกร์ —พฤหัสบดี

tripitaka-mbu.jpg.png

ฉายาพระสงฆ์พร้อมคำแปล อักษร

วันศุกร์ ส. ห.


สารตฺถิโก
ผู้ประสงค์แก่นธรรม

สจฺจญาโณ
ผู้รู้จริง

สิกฺขาสโภ
ผู้องอาจในการศึกษา

สจฺจวโร
ผู้มีสัจจะที่ประเสริฐ

สจฺจาสโภ
ผู้องอาจเพราะสัจจะ

สิริคุตฺโต
ผู้มีสิริคุ้มครองแล้ว

สิริจนฺโท
ผู้งามดุจพระจันทร์

สญฺญโต
ผู้สำรวม

สณฺหวาโจ
ผู้มีวาจาอ่อนหวาน

สิริธมฺโม
ผู้มีธรรมเป็นสิริ

สทฺธาธิโก
ผู้ยิ่งด้วยศรัทธา

สิริธโร
ผู้ทรงความเป็นสิริ

สนฺกาโย
ผู้มีกายสงบ

สิรินฺธโร
ผู้ทรงสิริ

สนฺตจิตฺโต
ผู้มีจิตสงบ

สิริปญฺโญ
ผู้มีปัญญาเป็นสิริ

สนฺตมโน
ผู้มีใจสงบ

สิริภทฺโท
ผู้มีสิริอันเจริญ

สนฺตวาโจ
ผู้มีวาจาสงบ

สิริมงฺคโล
ผู้มีสิริเป็นมงคล


สนฺติกโร
ผู้ทำความสงบ

สิริวฑฺฒโน
ผู้เจริญด้วยสิริ

สมจิตฺโต
ผู้มีจิตเสมอ

สมานฉนฺโท
ผู้มีฉันทะร่วมกัน

สิริวฑฺโฒ
ผู้เจริญด้วยสิริ

สมาหิโต
ผู้มีใจตั้งมั่น

สิริวณฺโณ
ผู้มีวรรณสง่า

สารคนฺโธ
ผู้มีแก่นสารที่หอม

สิริวิชโย
ผู้มีความชนะเป็นสิริ

สีตจิตฺโต
ผู้ใจเย็น

สุขุมาโล
ผู้ละเอียดอ่อน

สีลโชโต
ผู้รุ่งเรืองเพราะศีล

สุเขสิโน
ผู้แสวงหาสุข

สุคนฺโธ
ผู้มีกลิ่นหอม

สีลเตโช
ผู้มีศีลเป็นเดช

สีลตโป
ผู้มีศีลเป็นตบะ

สุจิตฺโต
ผู้มีความคิดดี

สีลธโร
ผู้ทรงศีล

สุตาคโม
ผู้มีสุตเป็นอาคม

สีลภูสิโต
ผู้มีศีลเป็นเครื่องประดับ


สุทฺธจิตฺโต
ผู้มีจิตหมดจด

สีลวฑฺฒโน
ผู้เจริญด้วยศีล

สุทฺธสีโล
ผู้มีศีลบริสิทธิ์

สีลสาโร
ผู้มีศีลเป็นแก่นสาร

สุทฺธิโก
ผู้หมดจด

สีลสุทฺโธ
ผู้หมดจดเพราะศีล

สุทฺธญาโณ
ผู้หมดจดเพราะญาณ

สีลเสฏฺโฐ
ผู้ประเสริฐเพราะศีล

สุทนฺโต
ผู้ทรมานดีแล้ว

สีลสวโร
ผู้สำรวมด้วยศีล

สุธมฺโม
ผู้มีธรรมที่ดี

สุธีโร
ผู้มีปัญญาดี

สุกฺกธมฺโม
ผู้มีธรรมขาว

สุนฺทรธมฺโม
ผู้มีธรรมอันงาม

สุขกาโม
ผู้ใคร่ความสุข

สุนฺทราจาโร
ผู้มีมารยาทดี

สุขวฑฺฒโน
ผู้เจริญด้วยความสุข

สุนฺทโร
ผู้งาม

สุปภาโต
ผู้สว่างดี

สุเขสโก
ผู้แสวงหาความสุข


สุภทฺโท
ผู้เจริญดี

สุขิโต
ผู้ถึงซึ่งสุข

สุภากาโร
ผู้มีอาการอันงาม

สุภาทาโร
ผู้มีความเอื้อเฟื้อดี

สภาจาโร
ผู้มีความประพฤติดี

สุมงฺคโล
ผู้มีมงคลดี

สุเมโธ
ผู้มีปัญญาดี

สุมิตฺโต
ผู้มีมิตรดี

สุรกฺโข
ผู้รักษาดี

สุมุตฺโต
ผู้พ้นดีแล้ว

สุวฑฺฒโน
ผู้เจริญดี

สุวฑฺโฒ
ผู้เจริญดี

โสธโน
ผู้หมดจด

โสตฺถิโก
ผู้มีความสวัสดี

โสภโณ
ผู้งดงาม

โสภณสีโล
ผู้มีศีลงาม

สํวโร
ผู้สำรวม

โสภคฺโค
ผู้เลิศด้วยความงาม

สํวุฑฺโฒ
ผู้เจริญพร้อม

สุสุทฺโธ
ผู้บริสุทธิ์ดี


ข้อมูลบล็อก ลิปิกรมคำศัพท์

การตั้งฉายาพระ
โดยพระครูสุธีวรสาร ดร.ตำแหน่ง
พระอุปัชฌาย์ · เจ้าอาวาสวัดหนองสวง · เจ้าคณะอำเภอหนองกุงศรี · อาจารย์ประจำหลักสูตร
การศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ไม่มีความคิดเห็น:

เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
รู้ ความหมายศัพท์ “คำยืม” อธิบาย “คำยืม” ได้แก่ ความว่า คำที่ใช้กันอยู่ในภาษาไทยของเราตอนนี้ บางส่วนเป็นคำไทยแท้ แต่บางส่วนก็เป็นคำไทยที่หยิบยืมมาจากภาษาอื่น และที่เห็นกันบ่อย ๆ คือมาจากภาษาบาลีและสันสกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ

Phra Ratana Kosin Sok Thi 236 —239